วันพฤหัสบดีที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2554

ออกแบบ wallpaper



Templete หน้าขอบคุณ (หน้าสุดท้าย)

ภาษาไทย

แบบที่ 2



แบบที่ 3



แบบที่ 4



แบบที่ 5



ภาษาอังกฤษ

แบบที่ 2



แบบที่ 3



แบบที่ 4



แบบที่ 5

Templete เนื้อหา

ภาษาไทย

แบบที่ 2



แบบที่ 3



แบบที่ 4



แบบที่ 5



ภาษาอังกฤษ

แบบที่ 2



แบบที่ 3



แบบที่ 4



แบบที่ 5

Templete

ออกแบบ Templeteหน้าแรก

ภาษาไทย

แบบที่ 2



แบบที่ 3



แบบที่ 4



แบบที่ 5



ภาษาอังกฤษ

แบบที่ 2



แบบที่ 3



แบบที่ 4



แบบที่ 5

วันพฤหัสบดีที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2554

ออกแบบ Templete สำหรับใช้กับ Power Point

1. หัวเรื่อง


แบบ ภาษาไทย





แบบภาษาอังกฤษ


2. ส่วนเนื้อหา






แบบ ภาษาไทย





แบบภาษาอังกฤษ

3. จบการนำเสนอ






แบบ ภาษาไทย





แบบภาษาอังกฤษ

วันพุธที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2554

ออกแบบโปสเตอร์

งานที่ 1 รณรงค์ให้งดสูบบุหรี่ในสถานศึกษา ใช้สีแบบ Monochrome



งานที่ 2 รณรงค์การใช้ 13 ฟอนต์แห่งชาติ ใช้สีแบบ Triads



งานที่ 3 รณรงค์ให้สวมหมวกนิรภัย ใช้สีแบบ Analogus



งานที่ 4 รณรงค์มารยาทไทย การไหว้ ใช้สีแบบ Dyads



สุดท้าย หัวข้ออิสระ ใช้สีแบบ Tetrads

วันพฤหัสบดีที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2554

การออกแบบโปสเตอร์


ลักษณะของภาพโปสเตอร์ที่ดี

1. รูปแบบต้องสอดคล้องกับเนื้อหาและกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้
2. มีลักษณะ เด่นชัด มองเห็นสะดุดตา
3. ข้อความนั้นต้องสั้น กระชับได้ใจความ
4. รูปภาพเร้าความสนใจ ชวนติดตาม
5. มีการสื่อความหมายได้ตามวัตถุประสงค์
6. แสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์
7. มีขนาดใหญ่พอที่จะมองเห็นได้ในระยะไกล
8. ในเรื่องการนำเสนอต้องมีข้อมูลเพียงเรื่องเดียวและที่สำคัญตรงประเด็น


ส่วนประกอบของโปสเตอร์




ขั้นตอนการออกแบบโปสเตอร์


1. ศึกษารายละเอียดและวิเคราะห์ข้อมูลที่จำเป็นที่ต้องการสื่อสาร
2. นำข้อมูลที่ต้องการสื่อสารมาออกแบบร่าง
3. เลือกรูปแบบและการวางผัง (Layout) ที่เหมาะสมกับงาน
4. ทำการวางแบบเลย์เอ้าท์ นำส่วนประกอบต่างๆมาลองวางลงในหน้ากระดาษ เพื่อดูว่ามีมากพอหรือไม่ ต้องการเพิ่มเติมส่วนใด หรือต้องตัดอะไรออก ดูความเข้ากันของส่วนประกอบทั้งหมดโดยใช้องค์ประกอบศิลปะช่วยในการจัด
5. กำหนดลักษณะของส่วนประกอบต่างๆของงานที่เหมาะสม เช่น แบบ ขนาดของตัวอักษรที่ใช้ในส่วนต่าง ๆ ของเนื้อหา
6. การทำต้นฉบับเหมือนพิมพ์ อาร์ตเวิร์ค (artwork) นำแบบร่างที่ลงตัวถูกต้องแล้ว มาทำให้เป็นขนาดเท่าของจริง ทั้งภาพและตัวอักษร ช่องไฟ และงานกราฟิคทุกอย่าง ซึ่งปัจจุบันจะใช้โปรแกรมจัดทำอาร์ตเวิร์คเช่น Adobe Indesign, Illustrator เป็นต้น
7. ทำการตรวจทาน ดูความถูกต้องของภาษา ความเหมาะสมของรูปภาพ และการจัดวาง
8. แก้ไขรายละเอียดและปรับแต่งขั้นสุดท้าย นำส่งโรงพิมพ์เพื่อทำการจัดพิมพ์ต่อไป


หลักการออกแบบโปสเตอร์



1. ตัวอักษรต้องตัดกับพื้นหลัง
2. ไม่ควรใส่ข้อความแน่นหรือมีจำนวนมากเกินไป
3. ควรคำนึงถึงหลักทฤษฎีสีและศิลปะในการออกแบบ
4. ควรเว้นระยะขอบประมาณ 0.5 ซ.ม.
5. ภาพให้เหมาะสมกับเนื้อหา



การออกแบบกราฟิกบนโปสเตอร์






โปสเตอร์ มีข้อความแสดงชื่อเรื่องที่ชัดเจน ตัดกับภาพพื้นหลัง ตัวหนังสือใหญ่ เหมาะกับการเป็นหัวหลัก การจัดองค์ประกอบภาพกำลังดี ดูเรียบๆไม่แน่นมากจนเกินไป ทำให้ดูสบายตา ภาพดปสเตอร์นี้เน้นสีโทนทึบทำให้ดูสบายตา สีไม่โดดกัน กลมกลืนกันหมด ระยะเว้นขอบมีปัญหาด้าน ล่างและด้านขวา ไม่ได้เว้นระยะห่าง ตัวหนังสือติดขอบมากเกินไป ภาพบ่งบอกกับว่า เป็นหนังแอ็คชั่น ซึ่งสรอดคล้องกับชื่อเรื่อง และเหมาะสมกับเนื้อหาของเรื่อง

การวางโครงสร้างสี

การใช้สี คือ การนำเอาสีไปใช้ในงานออกแบบ หลายคนไม่รู้จะใช้สีอย่างไรดี ทำให้งานดี ๆ ของเขาออกมาเสียหมดดังนั้นจึงมีทฤษฎีของการใช้สี หรือการเลือกสีมาใช้ร่วมกันในภาพ เพื่อให้ภาพออกมาดูดี ดูน่าพึงพอใจเรียกว่า Colour Schematic หรือการวางโครงสี

Monochrome

Monochrome หรือโครงสีเอกรงค์ คือมีเนื้อสี Hue เดียว แต่ให้ความแตกต่างด้วยน้ำหนักสีValue สีเอกรงค์นี้ ให้อารมณ์ ความรู้สึก สุขุม เรียบร้อยเป็นสากล ไม่ฉูดฉาดสะดุดตา และในด้านการออกแบบเป็นการใช้คู่สีที่ง่ายที่สุด แล้วออกมาดูดี

Analogus



Analogus หรือโครงสีข้างเคียง คือสีที่อยู่ติดกัน อยู่ข้างเคียงกัน ในวงจรสี จะเป็นที่ละ 2 หรือ 3 หรือ 4 สีก็ได้ แต่ไม่ควรมากกว่านี้เพราสีอาจจะหลุดจากความข้างเคียง

Dyads



Dyads หรือโครงสีคู่ตรงข้าม Complementary Colour คือสีที่อยู่ตรงกันข้ามกันในวงจรสี การเลือกใช้สีคู่ตรงข้ามจะทำให้งานที่ได้มีความสะดุดตาในการมองแต่ก็ต้องระวังการใช้สีคู่ตรงข้าม ถ้าเราหยิบสี 2 สีที่ตรงข้ามกันมาใช้ในพื้นที่พอ ๆ กัน งานนั้นจะดูไม่มีเอกภาพ ซึ่งเป็นหลักสำคัญในการทำงานศิลปะทางที่ดีเราควรแบ่งพื้นที่ของสีในภาพ




Triads หรือโครงสี 3 สี



1. เป็นการใช้สี 3 สี ในช่วงห่างระหว่างสีทั้ง 3 เท่ากัน ถ้าเราลากเส้นระหว่างสีทั้ง 3 สี เราจะได้สามเหลี่ยมด้านเท่า


2. เป็นการใช้สี 3 สี ในช่วงห่างระหว่างสีทั้ง 3 ไม่เท่ากันคือมีช่วงห่าง 2 ช่วงเท่ากัน แต่กับอีกอันหนึ่งช่วงห่างจะยาวกว่า ถ้าลากเส้นระหว่างสีแล้วจะได้สามเหลี่ยมหน้าจั่ว